วันจันทร์ที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

รวมจังหวะพื้นฐาน

 จากภาพแสดงค่าของจังหวะในโนตแต่ละตัว เริ่มจาก โน๊ตตัวกลม ตัวขาว ตัวดำ เข็จ1ชั้น และเขบ็จ ชั้นตามลำดับ ส่วนวิธีการนับ โน๊ตตัวดำนั้น เป็นตัวที่ใช้กำหนดความเร็วของเพลง เช่น ตัวดำเท่ากับ 60 หมายถึง ใน1นาที มี 60 Beat หรือ 60 ตัวดำ เข็จ1ชั้น นั้นคือแบ่งตัวดำเป็น จังหวะให้นับเป็น 1 and 2 and 3 and 4 and และเขบ็จ ชั้น คือแบ่งเขบ็จ ชั้นไปอีกเท่าตัวคือให้นับเป็น 1 eh and ah 2eh and ah 3 eh and ah 4 eh and ah ดังนั้น ถ้าใน1นาที มี 60 Beat หรือ 60 ตัวดำ จะมีโน๊ตเข็จ1ชั้น120 ตัว มีเขบ็จ ชั้น 240 ตัว

จากรูปเป็นสัญลักษณ์ ที่แสดงตำแหน่งบนกลองแต่ละตำแหน่ง แต่ที่สำคัญคงดูที่แสนร์ BD และ Hi-hat เป็นหลักครับ เพราะจะมีผลต่อการเดินทางของจังหวะแต่ละจังหวะของคุณ

โน๊ตนอกเหนือจากนี้จะมีโน๊ต พยางค์(Triplet )6 พยางค์ วิธีการนับถือกรณีแรก ให้นับในใจว่า 1 eh ah 2 eh ah 3eh ah 4 eh ah ซึงในเริ่มต้นควรตีด้วย Single Stroke คือสลับมือซ้าย ขวา ปกติ สังเกตุว่า ถ้าเริ่มด้วยมือขวา ในจังหวะตกที่ 1 2 3 4 และมือของเราจะสลับกัน คือ (1.R)LR(2L)RL(3R)LR(4L)RL(1R) เวลาฝึกควรใช้เท้าขวานับ1 3 และเท้าซ้ายนับจังหวะ กับ ไปด้วยครับ พยางค์ นั้นก็คือการแบ่ง 3พยางค์เป็นเท่า ตัวอย่างเช่นTempo 80 BPM การเล่น โน๊ต พยางค์ คือการตี 3พยางค์ ที่ BPM 160B PM ครับ ดังนั้น Tempo 80 BPM ผมจะเล่น 6พยางค์ 1ห้องเต็ม ก็เท่ากับ 24 Beat ถัดจากนั้นวิธีการตีนอกจากSingle Stroke แล้วคุณควรฝึกให้ตีได้ แบบDouble Stroke ด้วยครับ คือ(1.R)RL(2L)RR(3L)LR(4R)LL(1R)


และในขั้นที่ยากขึ้นไปอีก คือเขบ็จ ชั้น(32 Note) คือเป็นโน๊ตที่เป็นขั้นกว่าของเขบ็จ ชั้น อธิบายง่ายขึ้นคือในจังหวะ4/4 หนึ่งห้องจังหวะเราจะมีโน๊ตเขบ็จ 2ชั้น เท่ากับ 16 บีท ถ้าเป็นเขบ็จ ชั้นจะมี ทั้งหมด 32 บีท โน๊ต 5พยางค์ การเล่นสัดส่วน พยางค์(Quintuplet) วันนี้ขอพูดถึงสัดส่วน พยางค์ที่จริงๆแล้วผมยังไม่เคยได้ยิน หรือรู้มาก่อนเลยว่าเค้าใช้สัดส่วนนี้ด้วยเหรอ ในเพลง แต่คิดว่า มันก็ไม่แปลก ซึ่งอาจทำให้ได้เสียงที่ขัดหูมากขึ้นกว่า พยางค์ที่เราเคยได้ยิน ยังไม่มีวิธีการนับสัดส่วน พยางค์อย่างเป็นทางการซึ่งมีวิธีการนับ สองแบบ คือนับตรงๆจาก1-5 เหมือนเพลงที่มีสัดส่วน 5/16 (เพลงบ้านเราไม่มีแน่) นับอย่างนี้ครับ
1 2 3 4 52 2 34532 3 4 54 2 3 4 5 
อีกวิธีนับแบบพวกอินเดียนแดง โดยออกเสียงในใจและต้องไม่ให้เหมือนเรานับตอน เขบ๊จสองชั้นหรือ3พยางค์ คือนับ
1 Ta Ka Ta Ke Tuh 2 Ta Ka Ta Ke Tuh 3 Ta Ka Ta Ke Tuh 4Ta Ka Ta Ke Tuh 
ใครเคยเห็นเพลงบ้านเราที่มีFill in นี้ช่วยบอกผมหน่อยครับ ผมยากฟังเหมือนกัน



By: Mr.Pop




นานาความรู้

รวมจังหวะพื้นฐาน article
การจับไม้กลอง 2 แบบ article
การจะเป็นมือกลองในห้องอัดเสียง article
แบบฝึกมือที่อ่อนแออ article
แบบฝึกมือกลอง 2 กระเดื่อง(ต่อ) article
แบบฝึกมือกลอง 2 กระเดื่อง article
แบบฝึกในFeelling 32 Note article
แบบฝึกในFeelling3/4 article
แบบฝึกFill in (1) article
แบบฝึกFill in article
เคล็ดลับและเทคนิคสำหรับมือกลอง article
Third hand Concept article
Power Samba article
Paradidle article
Ghost Strokes & Flams article
Fill in 2 และ Funk Rock article
Cymbal article
Dynamic article
ตั้งเสียงกลอง article
งานเล่นดนตรี article
ศิลปะในการฝึกฝน article
รู้จักไม้ตีกลอง article

ไม่มีความคิดเห็น: